วันอังคารที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

บันทึกครั้งที่ 13

วันที่ 27 มกราคม 2554

แบ่งกลุ่ม 6กลุ่ม

คิดหน่วยการเรียนรู้ ทำ Mind map
การใช้ขอบข่ายของกระบวนการทางคณิตศาตร์
เขียนแผนการจัดประสบการณ์ 4 วัน โดยสอดแทรกกระบวนการทางคณิตศาสตร์
เขียนแผนการจัดประสบการณ์โดยใช้กิจกรรม

บันทึกครั้งที่ 12

วันที่ 20 มกราคม 2554

คำศัพท์ทางคณิตศาสตร์
ตัวเลข ขนาด รูปร่าง ที่ตั้ง ค่าของเงิน ความเร็ว อุณหภูมิ

ตัวเลข = เรื่องการนับ ต้องการให้เป็น ให้จำได้ สามารถบอกจำนวนได้ เช่น
นับวันที่ ,นับเวลา (เช้า กลางวัย เย็น)
ขนาด = เล็ก ใหญ่ สูงเตี้ย อ้วน ผอม
ที่ตั้ง =ซ้าย ขวา หน้า หลัง
ค่าของเงิน= บาท สตางค์
ความเร็ว = ในเรื่องความสัมพันธ์ เวลากับสิ่งที่กระทำ เช่นระยะทางกับเวลา
อุณหภูมิ =ร้อน เย็น หนาว อบอุ่น
เพราะฉะนั้น คณิตศาสตร์ อยู่รอบตัวแต่จะทำทักษะใดก็แล้วแต่ต้องอาศัยเครื่องมือ

มาตราฐานการวัดในระยะเมตริก
วัด = เป็นวิธีการซึ่งจะได้ซึ่งปริมาณระบบเมตริกที่ใช้ในชีวิตประจำวันคือ
การวัดเรื่องเวลาในขณะเดียวกันต้องมีขั้นตอน
1.ใช้ของจริง 2.จำลอง 3.สัญลักษณ์
ลักษณะหลักสูตรที่ดี
- เน้นกนะบวนการคิดและการพัฒนาความคิดรวบยอด
- เน้นการเรียนรู้ภาษาและการใช้ภาษาพูดที่สัมพันธ์กับกิจกรรม
ในชีวิตประจำวันไม่ใช่การท่องจำ
*ทำไมต้องเป็นเรื่องในชีวิตประจำวัน
(เพราะเป็นเรื่องใกล้ตัว มีอิทธิพลในตัวเรา)

หลักในการสอนคณิตศาสตร์
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวัน
- การถอดรองเท้า เป็นคู่
- วางในชั้นรองเท้า ซ้ายขวา บอกตำแหน่ง เป็นต้น
2. เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้พบคำตอบด้วยตนเอง
- สถานการณ์ที่ครูสร้างขึ้น
3. มีเป้าหมายและการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้ และลำดับขั้นของการพัฒนาความคิดรวบยอดของเด็ก
5.ใชวิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติกรรม
ใช้ในการวางแผนและจัดกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเ็ด็ก

ครูจะทำให้เด็กเชื่อมั่นได้ต้อง
1.ยอมรับฟัง
2.เปิดโอกาส
3.เสริมแรง